ตัณหา

๕ คำถาม ๓ กิเลส ที่บั่นทอนประเทศชาติ

พระไพศาล วิสาโล 18 พฤศจิกายน 2007

-๑- เหตุการณ์นักเรียนหญิงตบตีกันในห้องเรียนที่จังหวัดลำพูนเมื่อเร็วๆ นี้ก็ดี  กรณีนักศึกษาสาวสาดน้ำร้อนใส่หน้าหญิงสาวอีกคนหนึ่งในร้านสะดวกซื้อกลางกรุงในเวลาไล่เลี่ยกันก็ดี  แม้จะต่างกรรมต่างวาระ แต่ก็

ชีวิตที่เป็นสุขในสังคมบริโภค

ปรีดา เรืองวิชาธร 10 พฤศจิกายน 2006

ในระหว่างการอบรม “สู่ชีวิตที่ดีงามและเป็นสุข” (ชีวิตที่เป็นสุขในสังคมบริโภค จัดโดยเสมสิกขาลัย) พระไพศาล วิสาโล ได้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมไปเดินภาวนาในห้างสรรพสินค้าประมาณ ๒ ชั่วโมง โดยให้ทุกคนเ

รู้ทันบริโภคนิยม

พระไพศาล วิสาโล 15 ตุลาคม 2006

มองจากมุมของศาสนา ไม่มีศาสนาอะไรที่มีผู้นับถือมากเท่าศาสนาบริโภคนิยม  ศาสนานี้แพร่หลายไปทั่วทุกมุมโลกอย่างไม่มีศาสนาใดเทียบเท่าได้  แม้แต่ในป่าอะเมซอน ขั้วโลกเหนือ ยอดเขาเอเวอเรสต์  ศาสนานี้ก็ยังแพร่ไ

ผ่อนคลายให้หายเครียด

วิชิต เปานิล 12 สิงหาคม 2006

ชีวิตที่เคร่งเครียดดูเหมือนว่าเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้แล้วในสังคมทุกวันนี้ ไม่เฉพาะแต่คนที่อยู่ในเมืองใหญ่ๆ เท่านั้น แต่ความเครียดได้แทรกซึมไปทั่วทุกหัวระแหงแม้แต่ในชนบท ความเครียดเป็นผลสืบเนื่องที

ความขัดแย้ง เผชิญได้ หนีไม่ได้ (๑)

ปรีดา เรืองวิชาธร 10 ธันวาคม 2005

ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ “สมานไมตรี” (การคลี่คลายความขัดแย้งด้วยสันติวิธี) เราได้สมมติสถานการณ์ว่าหากเราทั้งหมดต้องไปสร้างชุมชนใหม่ด้วยกัน สิ่งที่เราอยากให้มีในชุมชนใหม่ของเราได้แก่อะไรบ้าง โดยให้ผู้เข

คืนคุณธรรมให้แก่ความเป็นไทย

พระไพศาล วิสาโล 25 กันยายน 2005

“ชาวประชาชาตินี้มีที่น่าสังเกตตรงอัธยาศัยอันอ่อนโยนและมีมนุษยธรรม  ในพระนครซึ่งมีพลเมืองค่อนข้างคับคั่ง ไม่ค่อยปรากฏว่ามีการทะเลาะวิวาทกันอย่างรุนแรง  ส่วนฆาตกรรมนั้นเห็นกันว่าเป็นกรณีพิเศษมากทีเดียว

งานสร้างใจ

พระไพศาล วิสาโล 3 ตุลาคม 2004

วัดเซนแห่งแรกในอเมริกาสร้างขึ้นที่เมืองซานฟรานซิสโกเมื่อราว ๔๐ ปีก่อน  ตอนที่สร้างวัดนั้นเจ้าอาวาสคือชุนเรียว ซูซูกิต้องลงมือขนหินเอง  ลูกศิษย์ซึ่งเป็นคนอเมริกันเห็นอาจารย์อายุมากแล้ว คือ ๖๐ กว่าแล้วแ

การปฏิวัติยังไม่สิ้นสุด

พระไพศาล วิสาโล 12 กันยายน 2003

เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “การปฏิวัติ”  ศจ.เสน่ห์ จามริก เป็นคนแรกๆ ที่ชี้ว่า ขบวนการ ๑๔ ตุลาเป็นการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ที่ “มุ

next

End of content

No more pages to load