Avatar

อรศรี งามวิทยาพงศ์

อัจฉริยะแบบ “สะดวกซื้อ”

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 6 กันยายน 2003

ก่อนที่อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ยอดอัจฉริยะของโลกวิทยาศาสตร์จะตาย เขาได้สั่งเสียคนใกล้ชิดว่า ขอให้เผาศพของเขาแทนการฝังศพดังธรรมเนียมของฝรั่ง โดยให้เหตุผลว่า เขาต้องการให้ศพของเขาสูญสลายหมดสิ้นไป ไม่กลายเป็

เทคโนโลยีตัดนิสัย : ความอับจนของสังคมสมัยใหม่

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 20 กรกฎาคม 2003

ข่าวเล็กๆ บอกว่า ญี่ปุ่นได้คิดค้นฝาผนังชนิดที่สามารถป้องกันการเข้ามาของคลื่นโทรศัพท์มือถือได้อย่างเด็ดขาด ไม่ว่าจะเป็นรุ่นหรูเลิศไฮเทคเพียงใดก็ตาม  โดยตั้งใจที่จะเอาฝาผนังที่ว่านี้ ไว้สำหรับสร้างห้องป

จัดระเบียบความตาย

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 8 กันยายน 2002

นิทานเซนเรื่องหนึ่ง เล่าว่ามีคหบดีคนหนึ่งพร้อมบุตรหลานไปทำบุญที่วัดในวันขึ้นปีใหม่ เสร็จแล้วก็ขอพรจากหลวงพ่อเจ้าอาวาส  พระท่านก็เขียนคำอวยพรให้ว่า “พ่อตาย ลูกตาย หลานตาย”  คหบดีเห็นเข้าก็โกรธ ต่อว่าหล

พุทธทาสกับอำนาจในสังคมสมัยใหม่: อำนาจแพทย์

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 19 พฤษภาคม 2002

คงยังจำกันได้ว่า แพทย์นี่เองที่ทำให้ท่านนายกฯ ซึ่งเคยถูกคนบ่นกันทั้งเมืองว่าไม่ยอมฟังใคร  ไม่ว่าจะเป็นนัก…..ฯลฯ ท่านเถียงหมด  แต่พอแพทย์ซึ่งรักษาอาการหูอักเสบสั่งให้ท่านหยุดพูดเพื่อจะหยุดการฟัง ท่านนา

พุทธทาสกับอำนาจในสังคมสมัยใหม่: อำนาจเงิน

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 24 มีนาคม 2002

มีเรื่องเล่าอยู่ในหนังสือ “เกร็ดธรรมะจากเกร็ดชีวิตของพุทธทาสภิกขุ” ว่ามีภริยาของผู้มีอำนาจวาสนาในสมัยที่ท่านอาจารย์พุทธทาสยังมีชีวิตอยู่คนหนึ่ง ไปสวนโมกข์พร้อมผู้ติดตาม และเข้าไปกราบท่านอาจารย์พ

คนกับควาย (เซ็นเตอร์)

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 10 กุมภาพันธ์ 2002

มีสำนวนจีนบอกว่า “วัวม้านั้นแน่นอน แต่คนไม่แน่นอน” คือสัตว์ทั้งหลายนั้น ฝึกมันอย่างไรๆ ความสามารถสูงสุดของมันก็เป็นได้แค่ม้าแค่วัว คือสัตว์มีขีดจำกัดของการพัฒนา ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นอื่นได้มากกว่

ดวงจะดีในปีไหน?

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 29 ธันวาคม 2001

มีเรื่องเล่าเก่าแก่ของจีนเรื่องหนึ่ง กล่าวถึงถึงชายชาวนาผู้มีคุณธรรมและน้ำใจเอื้ออารีคนหนึ่งคิดจะปลูกบ้านหลังใหม่ จึงไปเชิญซินแสผู้มีชื่อเสียงโด่งดังในการดูฮวงจุ้ยคนหนึ่งมาจากในเมือง  เมื่อซินแสมาถึงก

พ่อเข้าข้างลูก ผิดตรงไหน?

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 10 พฤศจิกายน 2001

“ความสงสาร” หรือความกรุณาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ เป็นคุณธรรมสำคัญที่ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ จรรโลงสังคม ก่อให้เกิดการช่วยเหลือ แบ่งปัน ช่วยขัดเกลาความเห็นแก่ตัวได้เป็นอย่างดี  อย่างไรก็ตาม ค

ฆ่าเพราะกลัว

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 13 ตุลาคม 2001

ในหลายกรณีการฆ่ากันหรือประทุษร้ายต่อกัน เกิดขึ้นจากความกลัวเป็นแรงขับเคลื่อนสำคัญ เช่น  เราจัดการกับงู ตะขาบ สัตว์มีพิษอื่นๆ ที่พบเห็นด้วยการฆ่า เพราะกลัวว่าสัตว์ดังกล่าวจะทำร้ายเรา  ยิ่งถ้าพบเห็นอยู่

อนาถกว่านี้ยังมีอีก!

อรศรี งามวิทยาพงศ์ 15 กันยายน 2001

โพลล์บอกว่าคนกรุงเทพฯ กว่าร้อยละ ๖๐ รู้สึกสลดหดหู่ใจอย่างยิ่งกับข่าวเด็ก ๙ ขวบฆ่าเด็ก ๓ ขวบตายอย่างทารุณ เพราะขัดใจที่ไม่ได้เล่นของเล่นที่ตัวอยากเล่น  ความรู้สึกนี้คงไม่ได้แตกต่างไปจากความรู้สึกของคนญ

next

End of content

No more pages to load