เหมือนเป็นคำเตือนให้ระแวดระวังความคิด ไม่ให้รีบทึกทักคิดเอาเองเออเองแบบลวกๆ อย่างที่พูดกันติดปากในยุคนี้ว่าอย่า “มโน” ไปเอง เพราะสิ่งนี้นำความทุกข์หนัก–ไปกับการหวาดหวั่นกังกลกับอนาคตที่ยังมาไม่ถ
อย่างที่รู้ อินเดียเป็นถิ่นกำเนิดของพุทธศาสนา แต่พุทธศาสนาเหลืออยู่ก็มักเป็นในชุมชนคนไท คนไท ซึ่งไม่ใช่คนไทยที่โยกย้ายเข้าไปรวมตัวกันตั้งถิ่นฐานใหม่ หากแต่เป็นคนไทอีกสายที่อพยพไปสร้างบ้านแปลงเมือง อา
ระหว่างเดินทางอยู่ในถิ่นชนบทของแคว้นอัสสัม ริมขอบแดนด้านตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย ข้าพเจ้าเกิดปวดฟันขึ้นมาในเย็นวันหนึ่ง ไม่ใช่ปวดแบบฟันผุ ฟันคุด ฟันโยก แต่เป็นอาการเหงือกอักเสบที่โคนฟันล่างซ
ทุกวันนี้คนไทยเราส่วนใหญ่คุ้นเคยกับคนไต หรือคนไทใหญ่ แต่ในฐานะคนต่างด้าวที่เข้ามาขายแรงงานในเมืองไทย โดยเหมารวมไปว่ามาจากประเทศพม่า แต่ในสำนึกของชาวไตเองพวกเขามีประเทศชาติ ภาษา วัฒนธรรม ประเพณีวิถีชีว
บุญเดือน ๑๐ เป็นเทศกาลงานบุญของแดนปักษ์ใต้ แต่ประเพณีแห่จาดมีอยู่ที่กระบี่เท่านั้น ครั้นพอถึงช่วงกลางๆ เดือน ๙ แต่เดิมมาช่างจาดของชุมชนก็เริ่มหาวัสดุมาขึ้นโครงจาด เล่ากันว่ายุคแรกสุดจะใช้ทางระกำ ด้วย
มีผู้ใหญ่ในแวดวงการศึกษาได้รับเชิญไปเป็นวิทยากรพิเศษในโรงเรียน แล้วกลับมาเล่าอย่างขันขื่น ท่านถามนักเรียนว่า พวกเธอรู้ไหมข้าวมาจากไหน นักเรียนตอบว่า มาจากห้าง ขันแต่ขมก็ตรงที่คำตอบของนักเรียนไม่ถูกต้อ
ว่ากันถึงเรื่องนิทาน เราก็มักจะมองไปทางโลกอาหรับ โดยมี “อาหรับราตรี” อมตะนิทานของโลกเป็นหลักหมาย แต่ว่าตามจริง ทางซีกโลกตะวันออกของเราก็เป็นดินแดนที่เต็มไปด้วยเรื่องเล่าพื้นบ้าน นิทานปรัมปรา ไว้เล่าสู
นิทานเปิดฉากขึ้นในประเทศอินเดีย ในถิ่นที่ผู้คนนิยมอยู่รวมกันเป็นครอบครัวใหญ่ เช่นเดียวกับเศรษฐีสูงวัย-ตัวละครแรกของเรื่อง ต่อมาเขาเสียชีวิตไปตามความร่วงโรยแห่งสังขาร เมื่อไม่มีเขา ลูกชายสองคนซึ่งต่างก
ไปปฏิบัติธรรมที่ธรรมกมลา ปราจีนบุรี ของท่านโกเอ็นก้ามา ๑๐ วัน ไม่ได้เขียนอะไรเลย กลับมาถึงก็อยากขอใช้พื้นที่ “มองย้อนศร” เขียนเล่าอะไรสักหน่อย ตลอดช่วงเวลา ๑๐ วันของการปฏิบัตินั้น ไม่เพียง
ในฤดูพรรษาหน้าอย่างนี้ เรามาคุยเรื่องตายกันไหม? ชวนอย่างนี้คงหาคนคุยด้วยได้ยาก แต่ที่ชวนนี้เป็นการคุยเรื่องความตาย เพื่อจะรู้ว่าเราควรอยู่อย่างไร อย่างที่ธรรมาจารย์ชาวทิเบตท่านหนึ่งกล่าวไว้ว่า คนเราอย
End of content
No more pages to load