ยิ่งเทคโนโลยีทางการแพทย์พัฒนามากเท่าใด ก็ยิ่งมีข่าวคราวเกี่ยวกับความตายที่เราแทบไม่เคยได้ยินได้ฟังมาก่อนบ่อยขึ้นเท่านั้น ในบรรดาข่าวเหล่านี้ผู้ที่เป็นเจ้าของชีวิตมักไม่มีโอกาสตัดสินชะตากรรมของตัวเอง แ
ไม่มีใครอยากให้คนใกล้ชิดต้องเจ็บไข้ได้ป่วย หากเป็นไปได้ก็อยากให้เขาสุขภาพดีไปตลอดชีวิต แต่ความจริงก็คือ เมื่อถึงเวลาหนึ่งความเจ็บป่วยย่อมมาเยือนเราทุกคน ไม่แปลกที่หลายคนจะสะพรึงกลัวกับความจริงข้อนี้ ก
มีคนไทยไม่มากนักรู้จักชื่อ ดอกเตอร์มาร์แชล โรเซนเบิร์ก (Marshall Rosenberg) ผู้ก่อตั้งการสื่อสารอย่างสันติ (Nonviolent Communication) ผู้เขียนไม่รู้จักเขาเป็นการส่วนตัว แต่มีโอกาสได้เรียนรู้จากคุณกัญญ
สมชัย อายุราว ๔๐ ปี ผ่านชีวิตและความสัมพันธ์แบบลุ่มๆ ดอนๆ ทุกครั้งที่กำลังเข้าสู่ความสัมพันธ์อย่างลึกซึ้งกับคนพิเศษ เมื่อมีเรื่องความขัดแย้งเกิดขึ้น สมชัยก็จะเลือกถอนตัวออกมา และสุดท้ายความสัมพันธ์ก
เราถูกสอนมาตั้งแต่จำความได้ว่า เราต้องมีความก้าวหน้าที่ยิ่งใหญ่ที่สามารถวัดผลได้ตามมาตรฐานของสังคมนั้นๆ เช่น เป็นเศรษฐีเงินล้าน มีบ้านมีรถมีคอนโด เป็นผู้บริหารบริษัทขนาดใหญ่ หรือเป็นข้าราชการชั้นสูง ผ
เหมือนเป็นคำเตือนให้ระแวดระวังความคิด ไม่ให้รีบทึกทักคิดเอาเองเออเองแบบลวกๆ อย่างที่พูดกันติดปากในยุคนี้ว่าอย่า “มโน” ไปเอง เพราะสิ่งนี้นำความทุกข์หนัก–ไปกับการหวาดหวั่นกังกลกับอนาคตที่ยังมาไม่ถ
บ่อยแค่ไหนที่คุณสามารถพูดเรื่องสำคัญให้ใครสักคนฟังแล้วคุณรู้สึกว่าเขาฟังคุณอย่างแท้จริง ถ้าคำตอบคือ “บ่อย” ก็นับว่าคุณอยู่ในสังคมที่เอื้ออาทรอย่างน่าอิจฉา หากหันมองรอบตัวจะเห็นว่าทุกวันนี้เราอยู่ในสัง
“ความตายจะให้อิสรภาพกับคุณ แต่มันต้องทำให้คุณอารมณ์เสียก่อนนะ” กลอเรีย สไตเนม (1934) นักกิจกรรมสังคมชาวอเมริกัน กล่าวไว้อย่างน่าขัน ก็จริงนั่นแหละ เมื่อพูดถึงความตายแล้ว ก็มีเรื่องให้น่
คุณเคยเห็นคนแก่สุขภาพจิตดีจนอยากรู้ว่าเขาใช้ชีวิตที่ผ่านๆ มาอย่างไรบ้างไหม ดร.จอห์น ไอโซ (John Izzo) นักเขียนและนักสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เคยเป็นอนุศาสนาจารย์ผู้ใกล้ชิดกับผู้ป่วยใกล้ตายจำนวนนับไม่ถ้วนพ
วรรณกรรมแฮรี พอตเตอร์ นำเสนอเนื้อหาตอนหนึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่แต่ละคนหวาดกลัว ตัวละครสำคัญต่างมีสิ่งที่กลัวไปคนละอย่าง บางคนกลัวแมงมุม บางคนกลัวพระจันทร์แต่ละดวง สิ่งที่กลัวมักเชื่อมโยงกับปมปัญหาชีวิตที่
End of content
No more pages to load