การศึกษาของสงฆ์หรือการศึกษาที่จัดขึ้นในวัด ในอดีตไม่เคยแยกบทบาททั้งสองออกจากกัน อันได้แก่การสร้างภิกษุสามเณรที่มีคุณภาพ และการส่งเสริมการศึกษาของมวลชน แม้มีความพยายามแยกบทบาททั้งสองนับแต่สมัยรัชกาลที
ในอดีตวัดเป็นศูนย์กลางการศึกษาวิชาทางโลกแทบทุกแขนงเท่าที่ชุมชนต้องการ ซึ่งรวมไปถึงวิชาช่างและศิลปะพื้นบ้าน อาทิปี่พาทย์ราดตะโพน แม้ในปัจจุบันศูนย์กลางการศึกษาวิชาการทางโลกได้เคลื่อนย้ายออกจากวัดไปแล้
พุทธศาสนาเจริญมั่นคงได้ในอดีต ส่วนหนึ่งก็เพราะวัดเป็นของชุมชน ชุมชนจึงร่วมกันทำนุบำรุงวัดและดูแลพระสงฆ์ให้มั่นคงในพระธรรมวินัย แต่กฎหมายคณะสงฆ์ในปัจจุบันได้ทำให้วัดกลายเป็นของคณะสงฆ์ ในการควบคุมของรั
เวลามีทุกข์ เรามักโทษปัจจัยภายนอกว่าเป็นสาเหตุ ไม่ว่าจะเป็นคนรอบตัว ดินฟ้าอากาศ หรือจราจรบนท้องถนน แต่เรากลับไม่มองมาที่ตัวเอง ถึงใครจะด่า แต่ถ้าเราไม่เอาคำพูดของเขามาเป็นอารมณ์ ถึงแดดจะร้อน แต่ใจไ
ในเมืองไทยหากคนป่วยได้เห็นพระ จะรู้สึกดี มีกำลังใจ เพราะได้ที่พึ่งทางจิตใจ อย่างน้อยก็ใจชื้นที่ได้มีโอกาสทำบุญในยามลำบาก แต่ในญี่ปุ่น ถ้าเห็นพระมา คนป่วยจะรู้สึกใจเสีย เพราะอดไม่ได้ที่จะนึกถึงความตาย
เป็นที่รู้กันดีว่าการศึกษาของคณะสงฆ์ในรอบศตวรรษที่ผ่านมานั้นให้ความสำคัญกับปริยัติศึกษา ขณะที่การศึกษาด้านอื่นๆ ถูกละเลยและบั่นทอนจนเรียวลง กระทั่งเกิดความเข้าใจไปว่าการศึกษาของสงฆ์คือปริยัติศึกษาเท่า
ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เราได้เห็นพระสงฆ์เข้าไปมีบทบาทในการสงเคราะห์ช่วยเหลือชุมชนมากขึ้น แทนที่จะจำกัดตัวเองอยู่กับการเทศน์การสอนและการสวดเท่านั้น พระสงฆ์เหล่านี้จำนวนไม่น้อยทำงานสงเคราะห์ชุมชนด้วย
ในอดีตการศึกษาของสงฆ์มีทั้งที่เป็นรูปแบบและนอกรูปแบบ กล่าวคือมีปริยัติศึกษาที่สอนกันเป็นกิจจะลักษณะตามสำนักต่างๆ แม้จะมิได้เป็นชั้นเรียนหรือโรงเรียนอย่างปัจจุบัน ขณะเดียวกันก็มีการอบรมสั่งสอนในเรื่อ
พุทธศาสนาแต่ดั้งเดิมนั้น ไม่ว่าจะโดยหลักธรรมหรือโดยประเพณี ไม่ได้แยกสิ่งที่เรียกว่า “โลก” กับ “ธรรม” ออกจากกันอย่างชัดเจน หลักธรรมในพุทธศาสนาไม่ได้มีแต่เรื่องทำจิตให้พ้นทุกข์อ
คนต่างชาติที่ได้ยินกิตติศัพท์คนไทยว่ามีน้ำใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ และขี้เกรงใจ พอได้มาเมืองไทยจริงๆ หลายคนอดประหลาดใจไม่ได้ที่เห็นคนไทยแย่งกันขึ้นรถเมล์โดยไม่สนใจเด็กหรือคนแก่เลย ตามท้องถนนคนขับรถก็ไม
End of content
No more pages to load