การศึกษา

ครู…คนสุดท้าย

มะลิ ณ อุษา 3 กันยายน 2017

ตั้งแต่เกิด เราก็มี “ครู” คนแรก คือพ่อแม่คอยสั่งสอนบทเรียนที่มนุษย์ตัวน้อยควรรับรู้และฝึกฝน เมื่อเติบโตขึ้น “ครู” คนต่อมาก็ถือชอล์กถือปากการอเราอยู่ที่โรงเรียนอนุบาล โรงเรียนประถม โรงเรียนมัธยม และมหา

หัวใจความเป็นมนุษย์

ภัสน์วจี ศรีสุวรรณ์ 16 สิงหาคม 2015

คำบางคำมีความหมายดีและสูงส่ง แต่เมื่อนำมาใช้พร่ำเพรื่อ สุดท้ายก็กลายเป็นแค่คำสวยและร่วมกระแสโดยไม่เข้าใจความหมายที่แท้จริง และมีคนไม่น้อยมองคำสวยๆ เหล่านี้ว่าเป็นคำในเชิงอุดมคติไปเลยทีเดียว เช่นเดียวก

ความตายของครูกับการเรียนรู้ที่เพิ่งเริ่มต้น

มะลิ ณ อุษา 14 กันยายน 2014

ยามเช้าของวันนั้น มวลเมฆสีเทาลอยกระจายอยู่เป็นหย่อมๆ มีฟ้าสีฟ้าเป็นฉากหลัง ตะวันทอแสงลอดผ่านกลุ่มเมฆเรื่อเรือง ก่อนที่จะถูกบดบังไปในยามเที่ยง แทบทุกตารางเมตรภายในบริเวณวัดภูเขาทอง คลาคล่ำไปด้วยผู้คนที

“วัตถุนิยมการศึกษา” เราจะเรียนกันไปถึงไหน?

นงลักษณ์ สุขใจเจริญกิจ 4 พฤศจิกายน 2012

เสาร์อาทิตย์ เป็นวันเรียนกวดวิชาแห่งชาติ  ย่านสยามเรื่อยไปจนถึงแยกพญาไท คราคร่ำไปด้วยเด็กนักเรียนนอกเครื่องแบบ บ้างมาเป็นกลุ่ม บ้างมาเดี่ยว บ้างมากับพ่อแม่ผู้ปกครอง และบ้างบางคนมากับคนรับใช้ คนขับรถ น

พุทธศาสนากับการสร้างสรรค์ปัญญา

พระไพศาล วิสาโล 6 ธันวาคม 2009

กระบวนการทางปัญญานั้นจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยกระบวนการการเรียนรู้ที่ถูกต้อง พุทธศาสนาเน้นมากในเรื่องกระบวนการการเรียนรู้ กระบวนการเรียนรู้ตามหลักพุทธศาสนานั้นเริ่มต้นตั้งแต่การได้ใกล้ชิดกับกัลยาณมิตรหรื

เข็มทิศแห่งการเรียนรู้

ปรีดา เรืองวิชาธร 28 กันยายน 2008

โดยทั่วไปหากจะจัดการเรียนรู้ขึ้นมาสักชุดหนึ่งหรือหลักสูตรหนึ่งนั้น เป้าหมายสำคัญมักมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนหรือองค์ความรู้เฉพาะด้านที่อยู่ในเนื้อหาหลักสูตรนั้น และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ประ

ปรุงแต่งความทุกข์

วิชิต เปานิล 7 กันยายน 2008

“อาจารย์… รักหนูมั้ย” คือคำถามที่เพื่อนผมคนหนึ่งได้รับจากลูกศิษย์ เขาบอกว่านักศึกษาคนนี้ได้เข้ามาขอคุยด้วยในเย็นวันหนึ่งหลังเลิกเรียน เรื่องนี้ไม่ได้เลวร้ายอย่างที่หลายท่านอาจจะคิดล่วงหน้าไปแล้วนะครับ

พุทธศาสนากับการศึกษาเพื่ออนาคตของประเทศ

พระไพศาล วิสาโล 1 มกราคม 2006

ปรับปรุงจากการอภิปรายที่มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตสวนดอก เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๗ เวลานี้คนไทยจำนวนไม่น้อยโดยเฉพาะผู้นำประเทศวาดหวังให้ประเทศไทยมีเศรษฐกิจเติบโต ๘% หรือ

วิชาทางโลก: คุณค่าที่คณะสงฆ์มองข้าม

พระไพศาล วิสาโล 18 สิงหาคม 2002

ในอดีตวัดเป็นศูนย์กลางการศึกษาวิชาทางโลกแทบทุกแขนงเท่าที่ชุมชนต้องการ ซึ่งรวมไปถึงวิชาช่างและศิลปะพื้นบ้าน อาทิปี่พาทย์ราดตะโพน  แม้ในปัจจุบันศูนย์กลางการศึกษาวิชาการทางโลกได้เคลื่อนย้ายออกจากวัดไปแล้

สิ่งที่ขาดหายไปจากการศึกษาสงฆ์

พระไพศาล วิสาโล 20 ตุลาคม 2001

ในอดีตการศึกษาของสงฆ์มีทั้งที่เป็นรูปแบบและนอกรูปแบบ  กล่าวคือมีปริยัติศึกษาที่สอนกันเป็นกิจจะลักษณะตามสำนักต่างๆ แม้จะมิได้เป็นชั้นเรียนหรือโรงเรียนอย่างปัจจุบัน  ขณะเดียวกันก็มีการอบรมสั่งสอนในเรื่อ

next

End of content

No more pages to load