ช่วงเดือนมิถุนายน ๒๕๖๑ ประเทศไทยมีการใช้โทษประหารเป็นครั้งแรก ภายหลังการว่างเว้นมาร่วม ๙ ปี ก่อเกิดกระแสการถกเถียงถึงประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับความเหมาะควร ความจำเป็นของการมีโทษประหาร ประเด็นข้อถกเถียงมี
“เธอ ทำแบบนี้ มันเสียของ” “ตกลงงานนี้ ใครเป็นเจ้าภาพ จะได้ประสานถูก” “คนกันเองแท้ๆ น่าจะช่วยๆ กันได้ ไม่น่าจะถือเป็นกฎเกณท์” ฯลฯ เราทุกคนต่างเคยมีประสบการณ์กับคำพูดทำนองนี้ เบื้องหลังคำพูดเหล่านี้มีค
แม่เป็นคนมือเย็น ชอบปลูกต้นไม้ และที่ชอบเป็นพิเศษคือดอกไม้ที่มีกลิ่นหอม พ่อเองก็ชอบปลูกต้นไม้เหมือนกัน ต้นไม้ที่พ่อปลูกมาตามกระแสพ่อยอมจ่ายเงินเพื่อซื้อตะโกดัดราคาแพงมาประดับหน้าบ้าน เงินสองพันห้าร้อย
๒๔ มี.ค. ๒๕๖๑ เด็ก เยาวชน และคนทั่วไปร่วม ๘๕๐,๐๐๐ คนได้ร่วมเดินขบวนเรียกร้องการปฎิรูปกฎหมายควบคุมอาวุธปืน ภายใต้การรณรงค์เดินขบวนเพื่อชีวิตของเรา (March for our lives) สืบเนื่องจากช่วงหลายปีที่ผ่านมา
หลายคนมักนึกถึงเรื่องการทำบุญหรือทำความดีในรูปของงานจิตอาสา การทำความดีให้กับผู้อื่น การบริจาค การทำบุญ ทำสังฆทานให้กับพระสงฆ์ กับวัด หลายคนนึกถึงในแง่สังคมสงเคราะห์ เช่น การบริจาคช่วยเหลือผู้ยากไร้
จากประสบการณ์ในฐานะผู้ทำงานด้านจิตบำบัด การเรียนรู้ตนเอง และสัมพันธภาพ ครั้งหนึ่งในการอบรมเรื่องครอบครัว ผู้เข้าอบรมหลายคนมีประเด็นคับข้องใจกับพ่อแม่วัยชรา เนื่องจากพฤติกรรมวัยชราที่ลูกหลานมองว่า “ไม
สมชายกับสมควรเป็นเพื่อนสนิทที่คบหามาแต่เยาว์วัย เมื่อจบการศึกษาต่างฝ่ายต่างแยกย้ายกันทำงาน จนเมื่อวันหนึ่งทั้งสองตัดสินใจทำธุรกิจร่วมกัน ฝ่ายหนึ่งออกทุนมากกว่า ขณะที่อีกฝ่ายมองว่าตนเองทุ่มเทแรงกายแรง
ใครจะรู้ว่า ขณะที่คนส่วนใหญ่มีชีวิตอยู่อย่างปกติสุขนั้น พี่น้อยชายแดนใต้ ที่อยู่ห่างจากเราเพียงไม่กี่ร้อยกิโลเมตร กลับเผชิญกับความโศกเศร้าสูญเสีย หวาดผวา ในทุกๆ วันตลอดสิบกว่าปีที่ผ่านมา ผมเองเคยได้ยิ
ย้อนหลังไปเมื่อ ๒๕ ปีที่แล้ว ประเทศแอฟริกาใต้ตกอยู่ในภาวะวิกฤต บ้านเมืองแตกแยกอย่างหนัก มีการปะทะกันด้วยกำลังอาวุธปีละหลายร้อยครั้ง เป็นผลจากนโยบายเหยียดผิวของรัฐบาลที่สืบเนื่องมาหลายสิบปี คนดำและคนเ
ตรงข้ามกับเดือนตุลาคม พฤษภาคมไม่เคยเป็นเดือนที่ชวนให้นึกถึงเหตุการณ์ร้ายแรงในประวัติศาสตร์การเมืองไทยสมัยใหม่เลย จนกระทั่งเมื่อ ๒๐ ปีที่แล้ว พฤษภาคมปีนี้ นอกจากจะเป็นวาระครบสองทศวรรษเหตุการณ์นองเลือ
End of content
No more pages to load