ช่วงเดือนมิถุนายน ๒๕๖๑ ประเทศไทยมีการใช้โทษประหารเป็นครั้งแรก ภายหลังการว่างเว้นมาร่วม ๙ ปี ก่อเกิดกระแสการถกเถียงถึงประเด็นต่างๆ เกี่ยวกับความเหมาะควร ความจำเป็นของการมีโทษประหาร ประเด็นข้อถกเถียงมี
“ระหว่างความคิดและความเป็นจริง ระหว่างแรงจูงใจและการกระทำ มีเงามืดเร้นกายอยู่” -ที.เอส. เอเลียต ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ที่ผ่านมา เราเดินผ่านเลือดเนื้อ การสู้รบ การแข่งขันแพ้ชนะ และไฟสงครา
ทำไมคนดีถึงยากจน แต่คนชั่วกลับร่ำรวย? เหตุใดคนที่เสียสละเพื่อส่วนรวมถึงมีอายุสั้น แต่คนที่โกงกินบ้านเมืองกลับมีอายุยืน? ข้อความเหล่านี้มักถูกยกขึ้นมาเพื่อตั้งข้อสงสัยกับกฎแห่งกรรมว่า กฎนี้มีจริงหรือ แ
ใครที่ได้ดูละครดังเรื่องแดจังกึมในตอนที่ตัวเอกของเรื่องคือแดจังกึมและมินจุงโฮ ผู้อุตส่าห์ทำความดี เสี่ยงชีวิตช่วยชาวบ้านจากโรคภัยไข้เจ็บจนกระทั่งพบทางรักษา แต่แล้วกลับถูกลงโทษ “พักงาน-ย้ายงาน
“ความสงสาร” หรือความกรุณาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ เป็นคุณธรรมสำคัญที่ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ จรรโลงสังคม ก่อให้เกิดการช่วยเหลือ แบ่งปัน ช่วยขัดเกลาความเห็นแก่ตัวได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ค
End of content
No more pages to load