หนูน้อยหมวกแดงเป็นเรื่องราวการผจญภัยของเด็กหญิงที่สวมหมวกแดง เด็กหญิงอายุราว ๑๐ ขวบ เช้าสดใสวันหนึ่งเธอขอนุญาตคุณแม่เพื่อไปเยี่ยมคุณยายที่ชายป่าแห่งหนึ่ง ห่างไกลพอสมควรจากบ้านของเธอ แม่ของหนูน้อยไม่อ
นับแต่วันที่เสียงปืนนัดแรกดังขึ้นในเหตุการณ์ปล้นปืนจากค่ายทหารที่นราธิวาสเมื่อต้นเดือนมกราคม ๒๕๔๗ ความปริร้าวแตกแยกในหมู่คนไทยได้ปรากฏชัดขึ้นเรื่อยๆ และลุกลามจนเกิดความรุนแรงครั้งแล้วครั้งเล่า โดยที่
“ระหว่างความคิดและความเป็นจริง ระหว่างแรงจูงใจและการกระทำ มีเงามืดเร้นกายอยู่” -ที.เอส. เอเลียต ประวัติศาสตร์ของมนุษย์ที่ผ่านมา เราเดินผ่านเลือดเนื้อ การสู้รบ การแข่งขันแพ้ชนะ และไฟสงครา
เหตุการณ์ร้ายแรงเมื่อวันที่ ๑๐ เมษายนที่ถนนราชดำเนินกลาง เป็นความสูญเสียของทุกฝ่าย รวมทั้งรัฐบาล นปช. และชาวไทยทั้งมวล ทุกคนเป็นผู้แพ้ หากความพินาศในวันนั้นเรียกว่าชัยชนะ มันก็คือชัยชนะของความโกรธเกล
เมื่อมีความขัดแย้งเกิดขึ้น ไม่ว่าเราเป็นคู่กรณีหรือผู้สังเกตการณ์ เราไม่ควรให้ความขัดแย้งดังกล่าวบดบังความจริงขั้นพื้นฐาน นั่นคือทั้งสองฝ่ายล้วนเป็นมนุษย์เช่นเดียวกับเรา ถึงเขาจะใส่เสื้อเหลืองหรือแดง
พฤติกรรมทางศีลธรรมของคนเราไม่ได้ขึ้นอยู่กับทัศนคติหรือความรู้สึกผิดชอบชั่วดีภายในใจเท่านั้น แต่ยังถูกกำหนดโดยสิ่งแวดล้อมรวมถึงสถานการณ์และผู้คนรอบตัวด้วย หากมีใครสักคนเป็นลมอยู่บนถนนที่มีคนพลุกพล่าน
ย้อนหลังเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว โลกทั้งโลกประสบมหันตภัยจากโรคระบาดที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ไข้หวัดใหญ่ซึ่งอุบัติขึ้นเมื่อปี ๒๔๖๑ และสลายไปในอีก ๒ ปีต่อมาได้คร่าชีวิตผู้คนทุกมุมโลกไม่น้อยกว่า ๕๐ ล้า
ขอผู้อ่านพิจารณาเรื่องนี้ให้ดีๆ “นาย ก. กับ นาง ข. เป็นคู่รักที่สัญญาว่าจะแต่งงานกันหลังจากที่นาย ก. กลับจากสงคราม หลายปีผ่านไป นาง ข. ไม่ทราบข่าวจากนาย ก. เลย จึงตัดสินใจขอความช่วยเหลือจากเพื่อนรัก
เหตุการณ์ปั่นป่วนวุ่นวายและความรุนแรงในรอบอาทิตย์ที่ผ่านมาได้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยไม่น้อย แม้จะยุติได้ในที่สุด แต่ก็มีแนวโน้มว่าเหตุการณ์ทำนองนี้จะเกิดขึ้นอีกหลายครั้ง ทั้งๆ ที่ทุกคนบอกว่าไม่ชอบ
การแก้แค้นเป็นพฤติกรรมที่ติดมากับมนุษย์ตั้งแต่ยุคดึกดำบรรพ์ก็ว่าได้ มันเป็นยิ่งกว่าปฏิกิริยา “สู้หรือหนี” อันเป็นสัญชาตญาณดั้งเดิมของสัตว์ทุกชนิดเมื่อเผชิญกับภัยคุกคาม คนเราไม่ได้อยากแก้แค้นเพียงเพร
End of content
No more pages to load