ท่านอาจารย์พุทธทาสเคยกล่าวว่า ปณิธานแห่งชีวิตของท่านมีสามประการ หนึ่งในนั้นได้แก่การ “ดึงเพื่อนมนุษย์ให้ออกมาเสียจากวัตถุนิยม” แม้ท่านอาจารย์จะละสังขารไปนานแล้ว แต่ปณิธานดังกล่าวก็ยังดังก้องผ่านงานเข
วันที่ ๘ กรกฎาคม เป็นวันครบรอบการมรณภาพของท่านอาจารย์พุทธทาสภิกขุ โดยก่อนหน้านั้นเดือนครึ่ง (ปี ๒๕๓๖) ท่านได้ล้มป่วยเนื่องจากเลือดออกในสมองจนถึงกับหมดความรู้สึกตัว อาการดังกล่าวไม่ได้เป็นเรื่องที่เหน
จากเด็กเล็กเล่าเรียน เขียนอ่าน เรียนรู้และเติบโตตามวัยจนเป็นผู้ใหญ่ ทำกิจการงาน มีครอบครัว เลี้ยงดูลูกหลาน กระทั่งแก่ชราเข้าสู่วัยไม้ใกล้ฝั่ง และท้ายที่สุดก็ละวางสังขารและลาจากโลกนี้ไป นี่คือท่วงทำ
ท่านอาจารย์พุทธทาสเล่าไว้ในการบรรยายครั้งหนึ่งว่า เคยมีเจ้าหน้าที่จากกรมการป่าไม้มากราบเรียนท่านว่า จะขอถวายรางวัลนักอนุรักษ์ธรรมชาติดีเด่นแด่ท่าน จากผลงานการสร้างสวนโมกข์ที่ยังคงความอุดมสมบูรณ์ร่มรื่
เมื่อ ๑๐๐ ปีก่อน เด็กชาวบ้านผู้หนึ่งได้ถือกำเนิด และเติบโต เล่าเรียน เขียน อ่าน ทำงานบ้าน และช่วยงานค้าขายของพ่อแม่ จากนั้นเมื่ออายุครบบวชก็ได้บวชเรียน ศึกษาปฏิบัติธรรม จากนั้น ๒๖ ปีให้หลัง สวนโมกข์
๑๒ พฤษภาคม ๒๔๗๕ ไม่กี่สัปดาห์ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จุดเปลี่ยนของพุทธศาสนาไทยได้เริ่มขึ้นเมื่อพระหนุ่มวัย ๒๖ ได้เดินทางจากกรุงเทพฯ กลับภูมิลำเนาที่อำเภอไชยา สุราษฎร์ธานี และปักหลักที่วัดร้างแห่งห
ด้วยวุฒิการศึกษาเพียงชั้น ม.๓ นักธรรมเอก และเปรียญธรรม ๓ ประโยค พระมหาเงื่อม อินทปัญโญ ภิกษุหนุ่มวัย ๒๖ ปี ได้ริเริ่มทำสิ่งซึ่งต่อมาได้กลายเป็นปรากฏการณ์ครั้งสำคัญของพุทธศาสนาในประเทศไทย ในทางรูปธรร
เมื่อท่านอาจารย์พุทธทาสมหาเถระได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคลสำคัญจากองค์การยูเนสโก เชื่อว่าคงจะมีคนจำนวนไม่น้อยหันมาสนใจธรรมะของท่าน ไม่ว่าจะด้วยความสนใจจริง หรือ สนใจอย่างกระทันหันเพราะท่านอาจารย์สามาร
ผู้ที่ประสบทุกข์ภัยจากคลื่นยักษ์ถล่มคงมีกำลังใจดีขึ้นไม่น้อยเลย ที่ต่างได้รับสัมผัสโอบกอดแห่งรักจากเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน มันเป็นสัมผัสที่แสนอบอุ่นและมีพลัง ซึ่งน่าจะบรรเทาทุกข์โศกให้คลายลงได้บ้าง ก็เพรา
คงยังจำกันได้ว่า แพทย์นี่เองที่ทำให้ท่านนายกฯ ซึ่งเคยถูกคนบ่นกันทั้งเมืองว่าไม่ยอมฟังใคร ไม่ว่าจะเป็นนัก…..ฯลฯ ท่านเถียงหมด แต่พอแพทย์ซึ่งรักษาอาการหูอักเสบสั่งให้ท่านหยุดพูดเพื่อจะหยุดการฟัง ท่านนา
End of content
No more pages to load