มุมมอง

จุดเปลี่ยน…ในยามที่ยังมีทางเลือก

มะลิ ณ อุษา 1 ธันวาคม 2013

พอสิ้นเสียงฝนสั่งฟ้า ลมหนาวก็พัดมาจากทางตอนเหนือ ต้นไม้เริ่มเปลี่ยนสีก่อนจะร่วงหล่นลงมา บรรดาสัตว์น้อยใหญ่เข้าสู่ฤดูแห่งการอพยพหรือจำศีลอันยาวนาน สรรพสิ่งล้วนดำเนินชีวิตภายใต้กฎเกณฑ์เดียวกัน นั่นคือ ก

ทาง…ในชีวิต

มะลิ ณ อุษา 27 ตุลาคม 2013

ข้างหน้าทางชำรุด ป้ายสีแดงเขียนด้วยตัวอักษรสีดำปักไว้ก่อนถึงทางโค้งขึ้นเขาราวๆ 500 เมตร แสงไฟหน้ารถทอลำฝ่าม่านฝนได้ไม่เกิน 5 เมตร ประกอบกับแสงฟ้ายามโพล้เพล้ ช่างหลอกตาดีแท้ ปลายทางยังอยู่อีกยาวไกล การ

ก่อนความตาย..มาเยือน

ชัยยศ จิรพฤกษ์ภิญโญ 13 ตุลาคม 2013

“เมื่อความตายมาอยู่ตรงหน้า แทบทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็นความคาดหวังของคนอื่น ชื่อเสียง เกียรติยศ ความกลัวที่จะต้องอับอายขายหน้าหรือล้มเหลว จะหมดความหมายไปสิ้น เหลือไว้ก็แต่เพียงสิ่งที่มีคุณค่าความหม

เปิดเล่ม: จดหมายข่าวพุทธิกา ฉบับที่ 52

พระไพศาล วิสาโล 1 ตุลาคม 2013

ในทัศนะของพุทธศาสนา ชีวิตจะเจริญงอกงามและประสบความผาสุก ต้องเริ่มต้นจากการรู้จักให้ ด้วยเหตุนี้ คำสอนเรื่องบุญกิริยาวัตถุหรือการทำบุญ จึงเริ่มต้นด้วยข้อแรกคือ “ทาน” ตามด้วยศีล และภาวนา  การจะทำบุญให้ค

หลายตัวตนในโลกสองใบ

มะลิ ณ อุษา 8 กันยายน 2013

อาจฟังดูพิลึกพิลั่น หากจะบอกว่าโลกที่เราอยู่ทุกวันนี้มีมากกว่าหนึ่งใบ! แน่นอนว่า โลกใบแรกจะต้องเป็นโลกทางกายภาพที่เราสามารถรับรู้ได้ทางอายตนะภายใน ไม่ว่าจะเป็นตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ ซึ่งดูเหมือนว่า

ส้วมไม่พัฒนา ใจไม่พัฒนา

พระวิชิต ธมฺมชิโต 14 กรกฎาคม 2013

ปัญหาความไม่สะดวกของห้องส้วมเป็นเหตุผลสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้หลายคนไม่อยากไปอินเดีย ความลำบากเริ่มตั้งแต่ไม่มีห้องส้วมให้ใช้ หรือมีก็ไม่เพียงพอ หรือมีแต่ไม่สะอาด ซึ่งก็เป็นเช่นนั้นจริงๆ นอกจากโรงแรมหร

เปิดเล่ม: จดหมายข่าวพุทธิกา ฉบับที่ 51

พระไพศาล วิสาโล 1 กรกฎาคม 2013

ชีวิตจะมีคุณค่า ย่อมเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์หรือการเกี่ยวข้องกับผู้อื่นอย่างถูกต้อง เมื่อเราอยู่คนเดียวอาจรู้สึกว่าชีวิตไม่ค่อยมีคุณค่า แต่ถ้ามีคนอื่นอยู่ด้วยและมีการเอื้อเฟื้อเกื้อกูล มีความผูกพันกัน

ความมั่นคงของชีวิต : ความจริงที่ต้องรู้

พระไพศาล วิสาโล 1 กรกฎาคม 2013

เมื่อพูดถึงความมั่นคงของชีวิต อันเป็นยอดปรารถนาของผู้คน ส่วนใหญ่แล้วมักนึกถึงความมั่งคั่งร่ำรวย เพราะเมื่อมีเงินแล้ว สวัสดิภาพ ความปลอดภัย และความสะดวกสบายก็ตามมา ยังไม่ต้องพูดถึงบริษัทบริวารที่ห้อมล้

วิชาชีวิต…บนวิถีแห่งการเรียนรู้

มะลิ ณ อุษา 30 มิถุนายน 2013

โดยปกติทั่วไป เราใช้เวลาอยู่ในโรงเรียนคนละอย่างน้อย 16 – 19 ปี เริ่มตั้งแต่อนุบาลตอนอายุ 3 ขวบ (ยกเว้นบางคนที่เริ่มต้นเรียนชั้นประถมตอนอายุ 7 ขวบ) จนกระทั่งจบปริญญาตรีตอนอายุ 22 ปี ตลอดระยะเวลา

ใช้ประโยชน์จากความป่วยไข้

เอกภพ สิทธิวรรณธนะ 23 มิถุนายน 2013

ช่วงนี้อากาศเปลี่ยน ฤดูกาลผันแปร เดี๋ยวร้อนอ้าว เดี๋ยวแฉะ เดี๋ยวก็เย็นฉ่ำ ทำให้หลายคนประสบความป่วยไข้ ผู้เขียนก็พลอยเป็นไข้หวัดไปกับเขาด้วยเหมือนกัน ความป่วยไข้อาจทำให้บางคนตัดสินใจหาทางออกด้วยการไปหา

next

End of content

No more pages to load