เป็นที่สังเกตกันหรือไม่ว่า ทำไมคุณธรรมที่พร่ำกันอยู่ในเวลานี้ แทบจะไม่มีคุณค่าและความหมายใดๆ เหลืออยู่ให้ผู้คนในสังคมซาบซึ้งใจ จนหันมาน้อมนำใส่ตนดังที่หลายคนคาดหวัง ทั้งๆ ที่มีการเรียนการสอนมานานและพู
นอกจากองค์ทะไลลามะแล้ว ท่านติช นัท ฮันห์ เป็นภิกษุอีกรูปหนึ่งที่นิตยสารไทม์เมื่อเร็วๆ นี้ ยกย่องให้เป็น “hero” หรือผู้มีผลงานอันโดดเด่นและเป็นแรงบันดาลใจให้แก่คนทั้งโลก หนังสือหลายเล่มของท่านติดอันด
การบริโภคเป็นธรรมชาติของมนุษย์ แต่ในอดีตสิ่งที่ผู้คนทั้งหลายบริโภคนั้น ส่วนใหญ่เป็นสิ่งที่ตนผลิตมากับมือ หรือไม่ก็หามาได้ด้วยตนเอง ไม่ว่า อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค มีเพียงคนส่วนน
นิทานไทยเรื่องหนึ่ง เล่าถึงชายคนหนึ่งขี่ม้าเดินทางผ่านป่าเปลี่ยว ในระหว่างนั้นเขาพบชายตาบอดผู้หนึ่ง เดินคลำทางสวนมาด้วยความลำบาก เขาจึงหยุดม้าและลงถามไถ่ด้วยความเป็นห่วง ปรากฏว่าเมื่อเดินถึงตัวชายตาบ
ในระหว่างการอบรม “สู่ชีวิตที่ดีงามและเป็นสุข” (ชีวิตที่เป็นสุขในสังคมบริโภค จัดโดยเสมสิกขาลัย) พระไพศาล วิสาโล ได้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมไปเดินภาวนาในห้างสรรพสินค้าประมาณ ๒ ชั่วโมง โดยให้ทุกคนเ
กระแสโลกาภิวัตน์ที่มีอิทธิพลอยู่ในปัจจุบัน ได้มีส่วนไม่น้อยในการทำให้เกิดวัฒนธรรม ๒ กระแสใหญ่ คือ “วัฒนธรรมแห่งความละโมบ” และ “วัฒนธรรมแห่งความโกรธเกลียด” การเชื่อมโลกให้เกือบจะเป็นหนึ่งเดียวกันนั้นด
ความอยุติธรรมและความรุนแรง คือสภาพความเป็นจริงที่ประจักษ์แก่ศาสนิกชนทั้งหลาย และปฏิเสธไม่ได้ว่าสภาพความเป็นจริงดังกล่าวคือสิ่งที่สวนทางกับหลักการของศาสนาทุกศาสนา ศาสนานั้นกำเนิดขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์อย
ปัจจุบันมีการพูดกันมากถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการฟื้นฟูศีลธรรม คำถามประการหนึ่งที่ต้องคิดกันก็คือ จิตสำนึก ค่านิยม หรือพฤติกรรมอย่างไร ที่ควรปลูกฝังหรือเสริมสร้างให้เกิดมีขึ้น แน่นอนว่าศีล ๕ หรือเบญจ
เชื่อกันมานานกว่าร้อยปีในหมู่นักคิดและนักวิชาการในตะวันตกว่า ศาสนาจะสูญหายไปจากโลกนี้ในศตวรรษที่ ๒๐ เพราะไม่อาจต้านทานอำนาจของเหตุผลและวิทยาศาสตร์ได้ แม้จะพบในเวลาต่อมาว่า การคาดคะเนดังกล่าวไม่ถูกต้อ
ผมว่าคนไทยเราทุกวันนี้พูดคุยกับคนแปลกหน้าน้อยลงไปมาก และพฤติกรรมนี้ดูเหมือนจะเป็นโรคระบาดที่แพร่กระจายออกไปได้ จากเมืองใหญ่ออกไปสู่ชานเมืองและต่างจังหวัด จากผู้ใหญ่วัยทำงานกระจายออกไปสู่เยาวชนและเด็กๆ
End of content
No more pages to load