หนูน้อยหมวกแดงเป็นเรื่องราวการผจญภัยของเด็กหญิงที่สวมหมวกแดง เด็กหญิงอายุราว ๑๐ ขวบ เช้าสดใสวันหนึ่งเธอขอนุญาตคุณแม่เพื่อไปเยี่ยมคุณยายที่ชายป่าแห่งหนึ่ง ห่างไกลพอสมควรจากบ้านของเธอ แม่ของหนูน้อยไม่อ
ย้อนหลังเมื่อ ๙๐ ปีที่แล้ว โลกทั้งโลกประสบมหันตภัยจากโรคระบาดที่ร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ไข้หวัดใหญ่ซึ่งอุบัติขึ้นเมื่อปี ๒๔๖๑ และสลายไปในอีก ๒ ปีต่อมาได้คร่าชีวิตผู้คนทุกมุมโลกไม่น้อยกว่า ๕๐ ล้า
เมื่อหันกลับมามองใคร่ครวญชีวิตในแต่ละขณะที่กำลังรู้สึกอยากได้อยากเป็นหรือกำลังต้องการสิ่งใดสิ่งหนึ่งสักอย่าง สิ่งที่ควรจะเห็นชัดที่สุดแต่เราส่วนใหญ่ก็ล้วนมองข้ามหรือมองไม่เห็นก็คือ แรงขับอันงุ่นง่านภา
เมื่อพูดถึงธรรมชาติของมนุษย์ เราก็นึกถึงความเห็นแก่ตัว “ใคร ๆ ก็เห็นแก่ตัวทั้งนั้น” เป็นประโยคที่เรามักได้ยินอยู่เสมอ และมักประสบกับกับตัวเป็นประจำ อย่างไรก็ตามคนเราไม่ได้มีแต่ความเห็นแก่ตัวเท่านั้น
“โตขึ้น หนูอยากเป็นอะไร” สมัยเด็กหรือวัยรุ่น เราคงมักได้ยินคำถามทำนองนี้บ่อยๆ หรือหากเราโตขึ้นสักหน่อยและดูมีฐานะการงานเลื่อนลอย คำถามที่มักตามมาคือ “จะเอายังไงกับอนาคต” มันไม่ง่ายเลยกับการตอบคำถามนี
หากว่าเรามีดวงตาวิเศษ สามารถมองเห็นสีสันของความทุกข์ที่อยู่ในตัวผู้คนได้ โดยให้ความทุกข์แต่ละอย่างต่างมีสีสันของตัวมันเอง ผู้คนมากมายรวมถึงตัวเราเองคงมีสีสันมากมายนับไม่ถ้วน เจิดจ้า และอ่อนจางไปตามควา
ว่ากันถึงความสุขของมนุษย์เรานั้น มีความหยาบความละเอียดประณีตต่างกันหลายชั้นหลายมิติ แต่ถึงจะหยาบหรือประณีตอย่างไร เราทุกคนก็ล้วนต้องการความสุขในทุกมิติทั้งสิ้น เพียงแต่บางช่วงบางขณะของชีวิตอาจต้องการ
รู้ไหมผมเป็นใคร…? คุณระดับไหน ผมระดับไหน รู้ไว้ซะด้วย…? ฯลฯ ถ้อยคำเหล่านี้ เป็นคำพูดที่ติดอยู่ริมฝีปากของใครต่อใครอีกหลายคน หรืออย่างน้อยๆ ก็ครุ่นคิดติดอยู่ในใจของคนที่รู้สึกว่าตนมีอะไรดีก
ระหว่างการอบรม “ผ่อนพักตระหนักรู้ เพื่อดุลยภาพกาย จิต ปัญญา และความรัก” จัดโดยเสมสิกขาลัย เราให้ผู้เข้าร่วมอบรมนั่งล้อมกันเป็นวงกลมเพื่อวาดรูปความงอกงามแห่งเมล็ดพันธุ์ เริ่มต้นโดยให้ทุกคน
ในระหว่างการอบรม “สู่ชีวิตที่ดีงามและเป็นสุข” (ชีวิตที่เป็นสุขในสังคมบริโภค จัดโดยเสมสิกขาลัย) พระไพศาล วิสาโล ได้ให้ผู้เข้าร่วมอบรมไปเดินภาวนาในห้างสรรพสินค้าประมาณ ๒ ชั่วโมง โดยให้ทุกคนเ
End of content
No more pages to load