มีคำถามผุดขึ้นในใจว่า มนุษย์ใช้พลังงานอะไรขับเคลื่อนชีวิต แน่นอนว่า ในทางร่างกาย สิ่งที่ขับเคลื่อนน่าจะเป็นปัจจัยสี่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และการดูแลสุขภาพ และความจริงที่เราพบก็คือ หากมี
“อย่าอาเจียนลงอ่าง” ผมเห็นป้ายห้ามนี้แขวนอยู่เหนือร้านข้าวต้มรอบดึกแห่งหนึ่ง เห็นแวบแรกก็รู้สึกขำ นึกในใจว่า คนเมาจะมีสติดีพอที่จะอ่านข้อความนี้ไหมหนอ กลับมานั่งโต๊ะกินข้าวต้มต่อ ผมจึงฉุกค
* บทความนี้ไม่ใช่การรีวิวภาพยนตร์ ภาพประกอบเป็นเพียงการสื่อถึงเนื้อหาบางส่วนของบทความ คิดไปแล้วน่าใจหาย ที่คนทุกวันนี้เชื่อใจและไว้วางใจกันน้อยลงทุกที อย่าว่าแต่ความรู้สึกไม่ไว้ใจต่อคนรอบข้างที่เราไม
ขอทานเป็นเรื่องที่พูดถึงกันมากเรื่องหนึ่งเมื่อจะเดินทางไปอินเดีย มักมีคำเตือนทั้งจากหัวหน้าทัวร์และผู้ที่มีประสบการณ์เคยไปมาแล้วว่า อย่าให้เงินขอทานเพราะอาจถูกรุมทึ้งรุมแย่งจนได้รับบาดเจ็บทั้งฝ่ายผู้ใ
ทุกวันนี้มักจะมีเสียงบ่นอยู่เสมอว่าจริยธรรมของผู้คนกำลังเสื่อมโทรม สิ่งที่ตามมาพร้อมกับเสียงบ่นก็คือเสียงเรียกร้องให้เพิ่มชั่วโมงศีลธรรมหรือสอนจริยธรรมในโรงเรียนให้มากขึ้น หาไม่ก็เรียกร้องให้พ่อแม่พาล
แม้การประกอบอาชีพจะมิอาจแยกจากการได้เงินค่าตอบแทนได้เลย กล่าวคือ ทำอาชีพการงานก็ย่อมต้องมีค่าตอบแทน แต่สำหรับสังคมสมัยใหม่นั้นมุ่งสนใจค่าตอบแทนมากกว่าจะสนใจเนื้อตัวกิจการงานที่ทำ คนทั่วไปต่างมุ่งสนใจร
น้องอิ๊งลูกสาวคนเล็กของท่านนายกฯ และเด็กนักเรียนนักศึกษาอีกหลายหมื่นคน ลงทะเบียนขอทำงานในช่วงปิดภาคการศึกษาตามนโยบายของรัฐบาล ซึ่งนายกรัฐมนตรีบอกว่า เพื่อฝึกฝนเด็กไทยให้รู้จักคุณค่าของเงิน ไม่ให้เอาแต
ชีวิตนี้มีค่าเพียงใด? แต่ก่อนเรามักตอบว่าชีวิตนี้มีคุณค่ามากจนประมาณไม่ได้ หรือไม่ก็ตอบในเชิงนามธรรมโดยโยงกับเรื่องศาสนา แต่ในยุคที่ทุกอย่างถูกทำให้กลายเป็นสินค้าดังทุกวันนี้ คุณค่าของชีวิตสามารถประ
เวลากินข้าว เราไม่เพียงตักอาหารบำรุงเลี้ยงร่างกายเท่านั้น หากยังเป็นโอกาสที่เราจะได้บำรุงเลี้ยงจิตใจด้วย โดยเฉพาะเมื่อเรากินอย่างมีสติ รู้จักประมาณในการกิน กินอย่างรู้คุณค่าที่แท้จริงของอาหาร และด้
เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “การปฏิวัติ” ศจ.เสน่ห์ จามริก เป็นคนแรกๆ ที่ชี้ว่า ขบวนการ ๑๔ ตุลาเป็นการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ที่ “มุ
End of content
No more pages to load