เป็นที่สังเกตกันหรือไม่ว่า ทำไมคุณธรรมที่พร่ำกันอยู่ในเวลานี้ แทบจะไม่มีคุณค่าและความหมายใดๆ เหลืออยู่ให้ผู้คนในสังคมซาบซึ้งใจ จนหันมาน้อมนำใส่ตนดังที่หลายคนคาดหวัง ทั้งๆ ที่มีการเรียนการสอนมานานและพู
การบริโภคเป็นธรรมชาติของมนุษย์ แต่ในอดีตสิ่งที่ผู้คนทั้งหลายบริโภคนั้น ส่วนใหญ่เป็นสิ่งที่ตนผลิตมากับมือ หรือไม่ก็หามาได้ด้วยตนเอง ไม่ว่า อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค มีเพียงคนส่วนน
นิทานไทยเรื่องหนึ่ง เล่าถึงชายคนหนึ่งขี่ม้าเดินทางผ่านป่าเปลี่ยว ในระหว่างนั้นเขาพบชายตาบอดผู้หนึ่ง เดินคลำทางสวนมาด้วยความลำบาก เขาจึงหยุดม้าและลงถามไถ่ด้วยความเป็นห่วง ปรากฏว่าเมื่อเดินถึงตัวชายตาบ
ลัทธิบริโภคนิยมให้สัญญาแก่เราว่า ยิ่งมีสิ่งเสพสิ่งบริโภคมากเท่าไร ชีวิตจะมีความสุขมากขึ้นเท่านั้น แต่หลายคนพบว่าแม้ชีวิตมีความสะดวกสบายมากขึ้น แต่ก็ไม่ได้มีความสุขมากขึ้นเลย ตรงกันข้ามกลับมีความทุกข
มองจากมุมของศาสนา ไม่มีศาสนาอะไรที่มีผู้นับถือมากเท่าศาสนาบริโภคนิยม ศาสนานี้แพร่หลายไปทั่วทุกมุมโลกอย่างไม่มีศาสนาใดเทียบเท่าได้ แม้แต่ในป่าอะเมซอน ขั้วโลกเหนือ ยอดเขาเอเวอเรสต์ ศาสนานี้ก็ยังแพร่ไ
สัมโมทนียกถาในการบำเพ็ญบุญทางพุทธศาสนาในวาระครบรอบ ๓๐ ปีเหตุการณ์ ๖ ตุลา ๑๙ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ ๓๐ ปีที่แล้ว ณ สถานที่แห่งนี้ ในเวลาเดียวกันนี้ ความโกรธเกลียดและความหลงได้แผ่คลุมจิตใจจนผลั
ครอบครัว ชุมชน และวัด เป็นสถาบันทางศีลธรรมที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อจิตสำนึกและพฤติกรรมของคนไทยในอดีต แต่สำหรับคนสมัยใหม่ โดยเฉพาะที่อยู่ในเมือง สถาบันเหล่านี้มีอิทธิพลค่อนข้างน้อย หากไม่เป็นเพราะความอ
ความอยุติธรรมและความรุนแรง คือสภาพความเป็นจริงที่ประจักษ์แก่ศาสนิกชนทั้งหลาย และปฏิเสธไม่ได้ว่าสภาพความเป็นจริงดังกล่าวคือสิ่งที่สวนทางกับหลักการของศาสนาทุกศาสนา ศาสนานั้นกำเนิดขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์อย
ปัจจุบันมีการพูดกันมากถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการฟื้นฟูศีลธรรม คำถามประการหนึ่งที่ต้องคิดกันก็คือ จิตสำนึก ค่านิยม หรือพฤติกรรมอย่างไร ที่ควรปลูกฝังหรือเสริมสร้างให้เกิดมีขึ้น แน่นอนว่าศีล ๕ หรือเบญจ
สังคมไทยในอดีต บุคคลไม่ได้ถูกปลูกฝังให้มีศีลธรรมเพราะการเทศนาสั่งสอนหรือการอบรมเลี้ยงดูโดยตรงเท่านั้น หากยังได้รับการกล่อมเกลาทางศีลธรรมจากการมีปฏิสัมพันธ์กับครอบครัว ชุมชน วัดวาอาราม อิทธิพลจากวิ
End of content
No more pages to load