เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างลึกซึ้งและกว้างขวาง ชนิดที่เรียกได้ว่าเป็น “การปฏิวัติ” ศจ.เสน่ห์ จามริก เป็นคนแรกๆ ที่ชี้ว่า ขบวนการ ๑๔ ตุลาเป็นการปฏิวัติทางวัฒนธรรม ที่ “มุ
ก่อนที่อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ยอดอัจฉริยะของโลกวิทยาศาสตร์จะตาย เขาได้สั่งเสียคนใกล้ชิดว่า ขอให้เผาศพของเขาแทนการฝังศพดังธรรมเนียมของฝรั่ง โดยให้เหตุผลว่า เขาต้องการให้ศพของเขาสูญสลายหมดสิ้นไป ไม่กลายเป็
เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงประทานศีลข้อที่หนึ่งให้ชาวพุทธสมาทานนั้น พระองค์ไม่ได้ตรัสแม้แต่น้อยว่า ศีลข้อนี้อนุญาตให้ชาวพุทธฆ่าสัตว์ตัดชีวิตได้ในบางกรณี ความหมายของศีลข้อนี้ตามพุทธบัญญัติคือจงใจละเว้
การปฏิรูปพุทธศาสนาในศตวรรษที่แล้ว พยายามทำให้พุทธศาสนาเป็นวิทยาศาสตร์และเน้นประโยชน์ในโลกนี้ ผลที่ตามมาก็คือโกุตตรธรรมตลอดจนประโยชน์ในโลกหน้าถูกลดความสำคัญจนเลือนหายไป เหลือแต่โลกิยธรรมและประโยชน์ในโ
มีเรื่องเล่าอยู่ในหนังสือ “เกร็ดธรรมะจากเกร็ดชีวิตของพุทธทาสภิกขุ” ว่ามีภริยาของผู้มีอำนาจวาสนาในสมัยที่ท่านอาจารย์พุทธทาสยังมีชีวิตอยู่คนหนึ่ง ไปสวนโมกข์พร้อมผู้ติดตาม และเข้าไปกราบท่านอาจารย์พ
ในช่วง 2 ทศวรรษที่ผ่านมา เราได้เห็นพระสงฆ์เข้าไปมีบทบาทในการสงเคราะห์ช่วยเหลือชุมชนมากขึ้น แทนที่จะจำกัดตัวเองอยู่กับการเทศน์การสอนและการสวดเท่านั้น พระสงฆ์เหล่านี้จำนวนไม่น้อยทำงานสงเคราะห์ชุมชนด้วย
หากถามว่ามีใครบ้างที่ไม่รักลูกของตัวเองกับผู้เป็นพ่อแม่ คงไม่มีใครยอดแย่กล้าปฏิเสธความรักที่มีต่อลูกได้ ด้วยเหตุนั้นพ่อแม่จึงพยายามขวนขวยหาทุกสิ่งทุกอย่างมาให้ โดยเฉพาะในทางด้านวัตถุ ไม่ว่าจะเป็นเงินท
“ความสงสาร” หรือความกรุณาอยากให้ผู้อื่นพ้นทุกข์ เป็นคุณธรรมสำคัญที่ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ จรรโลงสังคม ก่อให้เกิดการช่วยเหลือ แบ่งปัน ช่วยขัดเกลาความเห็นแก่ตัวได้เป็นอย่างดี อย่างไรก็ตาม ค
พุทธศาสนาแต่ดั้งเดิมนั้น ไม่ว่าจะโดยหลักธรรมหรือโดยประเพณี ไม่ได้แยกสิ่งที่เรียกว่า “โลก” กับ “ธรรม” ออกจากกันอย่างชัดเจน หลักธรรมในพุทธศาสนาไม่ได้มีแต่เรื่องทำจิตให้พ้นทุกข์อ
ทุกครั้งที่เราได้รับข่าวสารพระสงฆ์เสพเมถุน ชกต่อยกัน หรือถูกฆ่า ตามหน้าหนังสือพิมพ์ต่างๆ ทำให้ภาพเหตุการณ์เหล่านั้นปิดบังพระดีที่ทำงานพัฒนาชุมชนมาหลายปี โดยที่สังคมทั่วไปไม่รู้จักเอาเลย เมื่อพูดถึง “พ
End of content
No more pages to load