บริโภคนิยมเป็นอุดมการณ์ที่ทรงพลังอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ชนิดที่สามารถแทรกซึมไปในวิถีชีวิตของคนทุกชาติ ทุกศาสนา ทุกผิวสี และทุกระบอบการเมือง อย่างไม่มีอุดมการณ์ใดจะเทียบเท่าได้ การที่บริโภคนิยมแพร่หลา
ลัทธิบริโภคนิยมให้สัญญาแก่เราว่า ยิ่งมีสิ่งเสพสิ่งบริโภคมากเท่าไร ชีวิตจะมีความสุขมากขึ้นเท่านั้น แต่หลายคนพบว่าแม้ชีวิตมีความสะดวกสบายมากขึ้น แต่ก็ไม่ได้มีความสุขมากขึ้นเลย ตรงกันข้ามกลับมีความทุกข
กระแสโลกาภิวัตน์ที่มีอิทธิพลอยู่ในปัจจุบัน ได้มีส่วนไม่น้อยในการทำให้เกิดวัฒนธรรม ๒ กระแสใหญ่ คือ “วัฒนธรรมแห่งความละโมบ” และ “วัฒนธรรมแห่งความโกรธเกลียด” การเชื่อมโลกให้เกือบจะเป็นหนึ่งเดียวกันนั้นด
มองจากมุมของศาสนา ไม่มีศาสนาอะไรที่มีผู้นับถือมากเท่าศาสนาบริโภคนิยม ศาสนานี้แพร่หลายไปทั่วทุกมุมโลกอย่างไม่มีศาสนาใดเทียบเท่าได้ แม้แต่ในป่าอะเมซอน ขั้วโลกเหนือ ยอดเขาเอเวอเรสต์ ศาสนานี้ก็ยังแพร่ไ
สัมโมทนียกถาในการบำเพ็ญบุญทางพุทธศาสนาในวาระครบรอบ ๓๐ ปีเหตุการณ์ ๖ ตุลา ๑๙ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ ๓๐ ปีที่แล้ว ณ สถานที่แห่งนี้ ในเวลาเดียวกันนี้ ความโกรธเกลียดและความหลงได้แผ่คลุมจิตใจจนผลั
ปาฐกถานำในการเสวนาระหว่างชาวพุทธกับมุสลิม เมึอวันที่ ๒๖ มิถุนายน ๒๕๔๙ ณ โรงแรมดุสิตพาเลซ กรุงเทพมหานคร เชื่อกันมานานกว่าร้อยปีในหมู่นักคิดและนักวิชาการในตะวันตกว่า ศาสนาจะสูญหายไปจากโลกนี้ในศตวรรษที่
ครอบครัว ชุมชน และวัด เป็นสถาบันทางศีลธรรมที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อจิตสำนึกและพฤติกรรมของคนไทยในอดีต แต่สำหรับคนสมัยใหม่ โดยเฉพาะที่อยู่ในเมือง สถาบันเหล่านี้มีอิทธิพลค่อนข้างน้อย หากไม่เป็นเพราะความอ
ความอยุติธรรมและความรุนแรง คือสภาพความเป็นจริงที่ประจักษ์แก่ศาสนิกชนทั้งหลาย และปฏิเสธไม่ได้ว่าสภาพความเป็นจริงดังกล่าวคือสิ่งที่สวนทางกับหลักการของศาสนาทุกศาสนา ศาสนานั้นกำเนิดขึ้นมาเพื่อให้มนุษย์อย
ปัจจุบันมีการพูดกันมากถึงความจำเป็นเร่งด่วนในการฟื้นฟูศีลธรรม คำถามประการหนึ่งที่ต้องคิดกันก็คือ จิตสำนึก ค่านิยม หรือพฤติกรรมอย่างไร ที่ควรปลูกฝังหรือเสริมสร้างให้เกิดมีขึ้น แน่นอนว่าศีล ๕ หรือเบญจ
เชื่อกันมานานกว่าร้อยปีในหมู่นักคิดและนักวิชาการในตะวันตกว่า ศาสนาจะสูญหายไปจากโลกนี้ในศตวรรษที่ ๒๐ เพราะไม่อาจต้านทานอำนาจของเหตุผลและวิทยาศาสตร์ได้ แม้จะพบในเวลาต่อมาว่า การคาดคะเนดังกล่าวไม่ถูกต้อ
End of content
No more pages to load